วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

คุณรู้หรือปล่าว่า..............

ถุงพลาสติก 

ถุง 1 ตัน = น้ำมันดิบ 11 บาร์เรล
การนำกลับมารีไซเคิล 1%
1 ถุง = มลพิษทางอากาศ 500 กรัม น้อยกว่าถุงกระดาษ 80%
3% ลอยอยู่ในแหล่งน้ำและทะเล สัตว์กินเข้าไปแล้วก็จะตาย

ถุงกระดาษ

ถุง 1 ตัน = ต้นไม้ 17 ต้น
การนำกลับมารีไซเคิล 20%
1 ถุง = มลพิษทางอากาศ 2.6 กิโลกรัม
กระบวนการผลิตก่อมลพิษทางน้ำเลวร้ายกว่าการผลิตถุงพลาสติก 50 เท่าตัว 

การทดลอง : ครั้งที่ 7 เมื่อเราผสมทุกอยา่งรวมกัน


มิกซ์ 

ใส่กล้วยที่แช่เย็นลงไป
แล้วคลุกสักเล็กน้อย

ใส่แป้งข้าวเหนียวลงไป

อัตราส่วนในการใส่ต้องดูด้วยว่าพอดีกันหรือไม่ โดยประมาณคือ 1ต่อ1

วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การทดลอง : ครั้งที่ 6 หนังสือพิมพ์นั้นสำคัญอย่างไร


อีกขั้นตอนที่สำคัญมาก


กระดาษหนังสือพิมพ์ที่เราแช่น้ำไว้ 

ต้องบิดเอาน้ำออกให้หมด

ห้ามให้กระดาษมีน้ำเป็ฯอันขาดเพราะจะทำให้การขึ้นรูปนั้นทำได้ยาก


วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การทดลอง : ครั้งที่ 5 มาดูอุปกรณ์ที่สำคัญกันดีกว่า

พระเอก


นี่คือกล้วยขย่ำผสมกับเปลือกกล้วยแล้วแช่เย็น
มีลักษณะเหนียว ข้น หอม
เป็นพระเอกในการทำกระถางของเรานั่นเอง

วันศุกร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

กระถางชีวภาพสูตรอื่นๆ


"กระถางชีวภาพจากเปลือกทุเรียนและเปลือกเงาะ"

ของโรงเรียน

โรงเรียนนวมินทราชูทิศ  หอวัง นนทบุรี
เนื่องจากทุเรียนและเงาะเป็นผลไม้ที่มีผู้คนนิยมบริโภคกันมาก  ทางคณะผู้จัดทำเห็นว่าเปลือกของผลไม้ทั้งสองชนิดกลายเป็นขยะจำนวนมากและถูกทิ้งไปโดยเปล่าประโยชน์  ดังนั้นทางผู้จัดทำจึงค้นคว้าและทำการนำเปลือกผลไม้ทั้งสองชนิดมาประดิษฐ์ ขึ้นเป็นกระถางชีวภาพที่ ผู้บริโภคสามรถนำลงดินได้เลยในการปลูก เพราะเป็นวัสดุที่ย่อยสลายได้ในธรรมชาติ
คัดเลือกเปลือกผลไม้ที่เปลือกไม่เป็นรา  จากนั้นนำเปลือกเงาะและทุเรียนมาบดผสมกับแป้งมันหรือเศษกระถางดินเผา นำไปขึ้นรูปทรงแล้วนำไปตากแดดให้แห้ง  เสร็จแล้วก็สามรถนำไปใช้งานได้เลย


ขอขอบคุณข้อมูลดีๆจาก

การทดลอง : ครั้งที่ 4 ภาพประกอบการขึ้นรูป เพื่อความเข้าใจที่สมบูรณ์แบบ

 กวนให้เป็นเนื้อเดียวกันนะค่ะ
 เอากระถางพลาสติกมาเป็นแบบ
 กะความหนาให้พอดีกันและปั้นขอบให้สวยงาม
แล้วเราก็นำกระถางพลาสติกออกเบาๆๆ 
จะได้กระถางนิ่มๆที่ถูกใจ

วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

การทดลอง : ครั้งที่ 3 ลองทำอันใหญ่

ลองทำกระถางขนาดใหญ่กันดีกว่า


ครั้งที่ 3 ทำกระถางเิ่มขึ้นอีก 1 อัน โดยให้มีขนาดใหญ่มากกว่าเดิมเพื่อที่จะได้ใส่ต้นไม้ได้ขนาดใหญ่มายิ่งขึ้น และทดลองเพิ่มเติมสีสันเล็กล้อยต้วยสีน้ำ แล้วนำต้นไม้มาปลูก เลือกขนาดที่พอดีกับกระถาง
จากรูป รูปที่ 3 และ 4 จะเป็นผลงานชิ้นที่ 2